ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43


 (๗ พฤษภาคม ๒๕๒๖ – ๕ สิงหาคม ๒๕๒๙)

พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายจารุบุตร เรืองสุวรรณ ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๖ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ดังนี้

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

๑. พลเอก ประจวบ สุนทรางกูร

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๒. นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๓. นายพิชัย รัตตกุล

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๔. พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๕. เรืออากาศโท ศุลี มหาสันทนะ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๖. ร้อยตำรวจโท ชาญ มนูธรรม

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๗. นายมีชัย ฤชุพันธุ์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๘. นายกระมล ทองธรรมชาติ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๙. นายสวัสดิ์ คำประกอบ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๐. นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๑ นายบัญญัติ บรรทัดฐาน

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๒. พลเอก เปรม ติณสูลานนท์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๓. พลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๔. นายสมหมาย ฮุนตระกุล

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

๑๕. นายสุธี สิงห์เสน่ห์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๑๖. นายอำนวย ยศสุข

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๑๗ พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๑๘. ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธ์

เป็นรัฐานตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๑๙. นายณรงค์ วงศ์วรรณ

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๐. นายบรม ตันเถียร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๑. นายประยุทธ์ ศิริพาณิชย์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๒. นายผัน บุญชิต

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๓. นายสมัคร สุนทรเวช

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๔. นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๕. นายประชุม รัตนเพียร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๖. นายโกศล ไกรฤกษ์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์

๒๗. นายไพโรจน์ ไชยพร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

๒๘. นายประยูร จินดาศิลป์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

๒๙. พลเอก สิทธิ จิรโรจน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๐. ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๑. นายวีระ มุสิกพงศ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๒. นายเฉลียว วัชรพุกก์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๓. นายพิภพ อะสีติรัตน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

๓๔. นายดำรง ลัทธพิพัฒน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน

๓๕. นายชวน หลีกภัย

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๖. นายสัมพันธ์ ทองสมัคร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๗. นายสัมพันธ์ ทองสมัคร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๘. นายมารุต บุนนาค

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๓๙. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๔๐. นายอบ วสุรัตน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๑. นายวงศ์ พลนิกร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๒. นายประโยชน์ เนื่องจำนงค์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๓. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๔. นายปรีดา พัฒนถาบุตร

เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย

มีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี ดังนี้

๑. นายโอภาส พลศิลป เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่วันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๒๗ สืบแทนร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ ซึ่งลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๗
๒. นายเล็ก นานา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ตั้งแต่วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๒๘ สืบแทนนายดำรง ลัทธพิพัฒน์ ซึ่งถึงแก่อนิจกรรม
๓. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๒๘ สืบแทนนายอบ วสุรัตน์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่ง
๔. นายอนันต์ ฉายแสง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๒๘ สืบแทนนายประโยชน์ เนื่องจำนงค์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่ง
๕. นายมีชัย วีระไวทยะ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๒๘

ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๒๙ ได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีอีกคณะหนึ่ง ดังนี้

๑. นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
๒. พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา เป็นรองนายกรัฐมนตรี
๓. ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สืบแทนนายโกศล ไกรฤกษ์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่ง
๔. นายสุบิน ปิ่นขยัน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
๕. นายประสพ บุษราคัม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สืบแทน นายผัน บุญชิต ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่ง
๖. นายมนตรี พงษ์พานิช เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สืบแทนนายโอภาส พลศิลป ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่ง
๗. นายอรุณ ภาณุพงศ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
๘. นายอำนวย ยศสุข พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์และในวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายปรีดา พัฒนถาบุตรรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี

หมายเหตุ คณะรัฐมนตรีชุดนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากมีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีใหม่

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของท่านได้โดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ เพื่อจดจำตัวเลือกต่างๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรียังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และ ไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

บันทึกการตั้งค่า