ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41


 (๒๔ พฤษภาคม ๒๕๒๒ – ๓ มีนาคม ๒๕๒๓)

พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศพลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีที่ได้รับการแต่งตั้งในวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๒๒ มีรายนามดังต่อไปนี้

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

๑. พลอากาศเอก ทวี จุลทรัพย์

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๒. พลเอก เสริม ณ นคร

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๓. นายสมภพ โหตระกิตย์

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๔. เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๕. นายสวัสดิ์ คำประกอบ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๖. พลโท เฉลิมชัย จารุวัสตร์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๗. พลอากาศโท สิทธิ เศวตศิลา

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๘. นายเกษม จาติกวณิช

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๙. นายปรีดา กรรณสูต

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๐. พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๑. นายบุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๒. นายประมวล กุลมาตย์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๓. พลเอก พร ธนะภูมิ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๑๔. พลเอก เปรม ติณสูลานนท์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๕. พลเรือเอก กวี สิงหะ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๖. พลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๗. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

๑๘. นายชาญชัย ลี้ถาวร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๑๙. นายสุธี สิงห์เสน่ห์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๒๐. นายอุปดิศร์ ปาจรียางกูร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๒๑. นายอรุณ ภาณุพงศ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๒๒. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๓. นายวงศ์ พลนิกร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๔. นายอาภรณ์ ศรีพิพัฒน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๕. พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๖. นายระพี สาคริก

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๗. นายสมพร บุณยคุปต์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๘. พลอากาศเอก ประสงค์ คุณะดิลก

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๙. พลเรือเอก อมร ศิริกายะ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๓๐. นายอบ วสุรัตน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์

๓๑. นายปรก อัมระนันทน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

๓๒. พลเอก เล็ก แนวมาลี

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๓. นายดำริ น้อยมณี

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๔. นายประเทือง กีรติบุตร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๕. พลตำรวจเอก ชุมพล โลหะชาละ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๓๖. นายสุธรรม ภัทราคม

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

๓๗. นายชุม กาญจนประกร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน

๓๘. นายก่อ สวัสดิ์พาณิชย์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๙. นางยุพา อุดมศักดิ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๔๐. นายบุญสม มาร์ติน

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๔๑. นายกระแสร์ ชนะวงศ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๔๒. นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๓. นาวาอากาศเอก วิมล วิริยะวิทย์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๔๔. นายเกษม สุวรรณกุล

เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย

ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓ ได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีใหม่ ดังมีรายนามดังนี้

๑. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒. พลเอก เสริม ณ นคร

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๓. พลเอก เล็ก แนวมาลี

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๔. พลอากาศเอก ทวี จุลทรัพย์

เป็นรองนายกรัฐมนตรี

๕. นายบุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๖. พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๗. นายดำริ น้อยมณี

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๘. พลเอก พร ธนะภูมิ

เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

๙. พลเอก เปรม ติณสูลานนท์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๐. พลเรือเอก กวี สิงหะ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๑. พลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

๑๒. นายสมหมาย ฮุนตระกูล

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

๑๓. นายสุธี สิงห์เสน่ห์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๑๔. นายจำรัส จตุรภัทร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

๑๕. พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๑๖. นายอรุณ ภานุพงศ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

๑๗. นายระพี สาคริก

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๑๘. นายปรีดา กรรณสูต

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๑๙. นายอาณัติ อาภาภิรม

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๐. นายวงศ์ พลนิกร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒๑. นายสมพร บุณยคุปต์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๒. พลเรือเอก อมร ศิริกายะ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๓. พลเอก เทพ กรานเลิศ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

๒๔. นายอบ วสุรัตน์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์

๒๕. นายจุมพล ธรรมจารีย์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

๒๖. นายประเทือง กีรติบุตร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

๒๗. นายณรงค์ วงศ์วรรณ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๒๘. นายเชาว์วัศ สุดลาภา

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

๒๙. นายรัตน์ ศรีไกรวิน

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

๓๐. นายสุรินทร์ เศรษฐมานิตย์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน

๓๑. นายบุญสม มาร์ติน

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๒. นายสิปปนนท์ เกตุทัต

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๓. นายเสม พริ้งพวงแก้ว

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๓๔. นายกระแสร์ ชนะวงศ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

๓๕. พลอากาศเอก ประสงค์ คุณะดิลก

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๓๖. พลอากาศเอก วิมล วิริยะวิทย์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๓๗. นายอาชว์ เตาลานนท์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

๓๘. นายเกษม สุวรรณกุล

เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย

หมายเหตุ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เพราะพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่งในวันที่รัฐบาลจะแถลงนโยบายต่อสภา เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓ พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ให้เหตุผลในการลาออกครั้งนี้ว่า “ได้เกิดการขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับรัฐสภา ในปัญหาที่สำคัญหลายเรื่อง และหลายครั้งจนยากที่จะบริหารงานของชาติให้ดำเนินการไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ได้” ต่อมาในวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๒๓ ได้มีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ คณะรัฐมนตรีคณะนี้จึงพ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของท่านได้โดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ เพื่อจดจำตัวเลือกต่างๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรียังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และ ไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

บันทึกการตั้งค่า