ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 27


 (23 กันยายน 2500 – 26 ธันวาคม 2500)

นายพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2500 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอก สุทธิ์ สุทธิสารรณกร ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 23 กันยายน 2500 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ดังนี้

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

1. พลโท ถนอม กิตติขจร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

2. นายพจน์ สารสิน

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

3. พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

4. นายวิบูลย์ ธรรมบุตร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร

5. นายสพรั่ง เทพหัสดิน ณ อยุธยา

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

6. พลโท ประภาส จารุเสถียร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

7. พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

8. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

9. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

10. นายสุกิจ นิมมานเหมินท์

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ

11. นายวิบูลย์ ธรรมบุตร

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์

12. นายเฉลิม พรมมาศ

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

13. พลเอก หลวงสวัสดิ์กลยุทธ (สวัสดิ์ ไกรฤกษ์)

เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

14. พลอากาศโท บุญชู จันทรุเบกษา

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

15. พลเรือโท สนอง ธนศักดิ์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม

16. พลโท เจียม ญาโนทัย

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

17. นายวิสูตร อรรถยุกติ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

18. พลตรี กฤช ปุณณกันต์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร

19. พลตรี พงษ์ ปุณณกันต์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

20. พลเรือตรี จรูญ เฉลิมเตียรณ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

21. พลโท หลวงกัมปนาทแสนยากร (กำปั่น อุตระวณิชย์)

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

22. นายทวี แรงขำ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

23. พลตรี อัมพร จินตกานนท์

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม

24. พลตรี เผชิญ นิมิบุตร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

25. พลตรี เผชิญ นิมิบุตร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

26. พลโท จิตติ นาวีเสถียร

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ

27. พลตรี ชลอ จารุกลัส

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์

28. นายเจ๊ะ อับดุลลา หลังปูเต๊ะ

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

29. นายสงวน จันทรสาขา

เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

ประกาศเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2500

รัฐบาลแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2500 และได้รับความไว้วางใจ ในวันเดียวกัน

นโยบายของรัฐบาลคณะนี้ ปรากฎในหนังสือราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. 2500 เล่ม 74 ตอน 83 หน้า 2397

คณะรัฐมนตรีมีการแต่งตั้งเปลี่ยนแปลง คือ

1. นายพจน์ สารสิน พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
2. นายเสริม วินิจฉัยกุล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2500

หมายเหตุ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากได้กราบถวายบังคมลาออกทั้งคณะ (เพราะได้ดำเนินการ เลือกตั้งทั่วไปเสร็จสิ้นแล้ว) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2500

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของท่านได้โดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ เพื่อจดจำตัวเลือกต่างๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรียังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และ ไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

บันทึกการตั้งค่า